Adopté par le syndicat des transports d'Île-de-France (STIF) en 2007, le service a été inauguré le 28 juin 2008 entre la gare d’Austerlitz à Paris et l'école vétérinaire de Maisons-Alfort, avec un temps de parcours moyen de trente-cinq minutes. Contrairement aux services touristiques fluviaux à Paris, cette nouvelle ligne se différencie par ses horaires adaptés aux migrations domicile-travail et son intégration à la tarification à forfait existante en Île-de-France, comme les cartes Intégrale ou Orange ; pour les voyageurs occasionnels, un ticket spécifique est vendu à bord des bateaux, le ticket T+ n'étant pas accepté pour le trajet. La ligne fait renaître en partie les services fluviaux de transport de passagers qui se sont succédé sur la Seine, jusqu'à leur disparition en 1934 face à la concurrence du réseau ferré. Le service est assuré par la Compagnie des Batobus sur des catamarans dédiés.
2.12.2552
Voguéo
Adopté par le syndicat des transports d'Île-de-France (STIF) en 2007, le service a été inauguré le 28 juin 2008 entre la gare d’Austerlitz à Paris et l'école vétérinaire de Maisons-Alfort, avec un temps de parcours moyen de trente-cinq minutes. Contrairement aux services touristiques fluviaux à Paris, cette nouvelle ligne se différencie par ses horaires adaptés aux migrations domicile-travail et son intégration à la tarification à forfait existante en Île-de-France, comme les cartes Intégrale ou Orange ; pour les voyageurs occasionnels, un ticket spécifique est vendu à bord des bateaux, le ticket T+ n'étant pas accepté pour le trajet. La ligne fait renaître en partie les services fluviaux de transport de passagers qui se sont succédé sur la Seine, jusqu'à leur disparition en 1934 face à la concurrence du réseau ferré. Le service est assuré par la Compagnie des Batobus sur des catamarans dédiés.
โรฮิงญา-คนไร้รัฐ
ในปี พ.ศ. 2521 ชาวโรฮิงยาต้องตกอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลทหารพม่า ชาวโรฮิงยาถูกปฏิเสธที่จะได้รับสัญชาติพม่า ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างหนัก องค์การนิรโทษกรรมสากลประมาณการว่า มีชาวโรฮิงยาอพยพออกนอกประเทศไปยังบังคลาเทศกว่า 200,000 คน
ย้อนไปยุคล่าอาณานิคมก่อนปี 2367 เมื่ออังกฤษชนะพม่า ๆ ขณะนั้นได้ยกรัฐยะไข่และตะนาวศรีให้อังกฤษ ๆ จึงผนวกรวมกับอินเดียซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษมาก่อนแล้ว จากนั้น อังกฤษได้อพยพชาวมุสลิมจากเบงกอล อินเดียมาอยู่ในรัฐอารากัน หรือยะไข่ ซึ่งมีคนพื้นเมืองไทยพุทธอยู่ก่อนแล้ว จึงเกิดการวิวาทบาดหมางต่อสู้กันขึ้น อังกฤษจึงแบ่งรัฐยะไข่ เป็นตอนเหนือให้พวกมุสลิมโรฮิงยาอยู่ และคนพม่าพุทธอยู่ในยะไข่ตอนใต้
อังกฤษชอบอพยพคนจากที่หนึ่งไปไว้อีกที่หนึ่งเสมอเพื่อใช้เป็นแรงงานไร่ใบชาและอื่น ๆ เช่น ย้ายคนอินเดียเป็นแรงงานในมาเลเซีย ย้ายคนจากรัฐทมิฬนาดูในอินเดียไปเป็นแรงงานในตอนเหนือของเกาะศรีลังกา เป็นต้น จนเกิดปัญหาตามมามากมาย มุสลิมโรฮิงยาจึงมีเชื้อชาติ ศาสนา ชาติพันธ์ที่ใกล้ชิดกับคนบังคลาเทศมากกว่าคนพม่า ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลพม่าจึงไม่ยอมรับพวกโรฮิงยาว่าเป็นคนพม่าและพยายามทุกวิถีทางที่จะขับไล่มุสลิมโรฮิงยาออกนอกประเทศ ขณะที่รัฐบาลบังคลาเทศก็ไม่ยอมรับโรฮิงยาว่าเป็นประชาชนของตน โดยถือว่าเป็นคนพม่าที่รัฐบาลพม่าต้องดูแล
โรฮิงยามีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคนมุสลิม 8 ล้านคนซึ่งกระจายอยู่ทั่วไปในพม่า คิดเป็นร้อยละ 15 ของประชากรทั้งประเทศ ชนกลุ่มน้อยโรฮิงยามีสถานะไร้รัฐตาม “ กฎหมายพลเมืองพม่า” ปี 2525 ทำให้โรฮิงยาไม่มีสิทธิเสรีภาพเช่นพลเมืองในพม่า ชาวโรฮิงยาเปิดเผยต่อโลกว่า พวกตนถูกกดขี่ ถูกจำกัดความเคลื่อนไหว ถูกบังคับใช้แรงงาน ถูกยึดที่ดิน ถูกจำกัดสิทธิการแต่งงานและการมีบุตรเพราะไม่ต้องการให้พลเมืองโรฮิงยาเพิ่มขึ้น ทางการทำลายสุเหร่า และโรงเรียนสอนศาสนา รัฐยึดที่ดินที่ใช้เป็นศาสนาสถานและหลุมฝังศพ ที่ดินทำกิน การหางานทำในพม่ายากยิ่ง
ช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ได้อพยพหนีภัยจากพม่าไปอยู่ในหลายประเทศ มากที่สุดคือบังคลาเทศซึ่งมีพรมแดนติดต่อกัน นอกจากนั้นมีชาวโรฮิงยาไปอยู่ในปากีสถาน ซาอุดิอาราเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มาเลเซีย ไทย ฯลฯ
เพชรโฮป Hope Diamond
2.07.2552
ประโยชน์ของเปลือกกล้วย
นมควาย ให้สารอาหารมากว่า นมวัว
1.24.2552
โอเชียเนีย
โอเชียเนีย (อังกฤษ: Oceania) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มของหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก การใช้ในวงแคบ หมายถึง หมู่เกาะโพลินีเซีย (รวมนิวซีแลนด์) หมู่เกาะเมลานีเซีย (รวมนิวกินี) และหมู่เกาะไมโครนีเซีย การใช้ในวงกว้างจะรวมออสเตรเลียเข้าไปด้วย และอาจรวมถึงกลุ่มเกาะมลายู บางทีนำไปใช้ในความหมายที่รวมเอาเกาะอื่น ๆ เข้าไว้ เช่น ญี่ปุ่นและหมู่เกาะอาลิวเชียน แต่พบน้อยมาก
"โอเชียเนีย Oceania" หมายถึง กลุ่มประเทศและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทวีปออสเตรเลียซึ่งเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กที่สุด เนื้อที่ราว 7.7 ล้านตารางกิโลเมตร เล็กกว่าทวีปเอเชียถึง 6 เท่า ประกอบด้วย ผืนแผ่นดินที่เป็นที่ตั้งของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะโพลินีเซีย หมู่เกาะไมโครนีเซีย หมู่เกาะเมลานีเซีย ทวีปออสเตรเลีย-โอเชียเนีย เป็นกลุ่มของหมู่เกาะจำนวนมากนับพันเกาะ อย่างไมโครนีเซียมีในครอบครองกว่า 600 เกาะ ประกอบด้วย 14 ประเทศ เมืองหลวงอยู่ในวงเล็บ ได้แก่
- คิริบาส (ตาระวา)
- ซามัว (อาปีอา)
- ตองกา (นูกูอะโลฟา)
- ตูวาลู (ฟูนะฟูตี)
- นาอูรู (นาอูรู)
- นิวซีแลนด์ (เวลลิงตัน)
- ปาปัวนิวกินี (พอร์ตมอร์สบี)
- ปาเลา (เมเลเคอ็อก)
- ฟิจิ (ซูวา)
- ไมโครนีเซีย (ปาลิเกอร์)
- วานูอาตู (พอร์ตวิลา)
- หมู่เกาะโซโลมอน (โฮนีอารา)
- หมู่เกาะมาร์แชลล์ (มาจูโร)
- ออสเตรเลีย (แคนเบอร์รา)
และ 13 ดินแดน
Barack Obama
Barack Hussein Obama II[1], né le 4 août 1961 à Honolulu, Hawaii[2], est le président des États-Unis d'Amérique.
Diplômé de l'Université Columbia et de la Faculté de droit de Harvard, il est en 1990 le premier afro-américain à présider la prestigieuse Harvard Law Review. Après avoir été travailleur social dans les quartiers sud de Chicago durant les années 1980, puis avocat en droit civil à sa sortie d'Harvard, Barack Obama effectue trois mandats au Sénat de l'Illinois de 1997 à 2004. Il enseigne aussi le droit constitutionnel à l’Université de Chicago de 1992 à 2004. Il connait l’échec lors de sa candidature à la chambre des représentants en 2000 puis obtient l’investiture du parti démocrate en mars 2004 pour devenir sénateur des États-Unis.
Barack Obama se distingue notamment par son opposition précoce à la guerre lancée par George W. Bush en Irak et par le discours qu’il prononce en juillet 2004 lors de la convention démocrate qui désigne John Kerry comme candidat à la présidence, obtenant là une audience nationale.
Il est élu sénateur en novembre 2004. Il déclare sa candidature à l’investiture démocrate pour la présidence des États-Unis le 10 février 2007 à Springfield, remporte les primaires face à Hillary Clinton et est officiellement désigné candidat lors de la convention de son parti à Denver, le 27 août 2008.
Ayant largement remporté, le 4 novembre 2008, les élections devant le républicain John McCain, Barack Obama entre en fonction le 20 janvier 2009, devenant alors le 44e président des États-Unis et le premier afro-américain à accéder à la Maison Blanche.
Sa présidence intervient dans un contexte de guerre en Irak, de guerre en Afghanistan, de crise au Moyen-Orient, d'une importante récession de l'économie américaine et de crise financière et économique mondiale.
บารัค โอบามา (อังกฤษ: Barack Obama) มีชื่อเต็มว่า บารัค ฮุสเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II) เกิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961 เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 44 และเป็นคนแอฟริกันอเมริกันคนแรก ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี โอบามาเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาจากรัฐอิลลินอยส์ ในปี 2005 จนกระทั่งถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2008 หลังจากที่เขาประกาศลงสมัครการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2008 โอบามาเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา คนที่ 44 อย่างเป็นทางการในวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 2009
โอบามาจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย และกฎหมายจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด เขาได้เป็นประธานของ Harvard Law Review โดยเป็นคนผิวสีคนแรก เคยทำงานเป็นผู้จัดการชุมชน, อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยชิคาโก จากปี ค.ศ. 1992 - 2004 และทนายสิทธิพลเมืองมาก่อนที่จะหันมาสนใจการเมือง เคยสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกาในการเลือกตั้งปี 2000 แต่ไม่ชนะการเลือกตั้ง จึงเริ่มหาเสียงในการสมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี 2003 เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภาแห่งรัฐอิลลินอยส์ ในปี ค.ศ. 1997 ถึง ค.ศ. 2004
ในระหว่างการทำหน้าที่ในสภาคองเกรสที่ 109 นั้น โอบามาได้เรียกร้องให้มีการควบคุมการใช้อาวุธ และเรียกร้องให้มีการแถลงการณ์เรื่องการใช้จ่ายเงินของรัฐบาลให้สาธารณชนได้ทราบด้วย นอกจากนั้นในช่วงนี้ เขายังเคยไปเยือนยุโรปตะวันออก ตะวันออกกลาง และแอฟริกาอย่างเป็นทางการด้วย ในสภาคองเกรสที่ 110 เขาก็ได้เรียกร้องให้มีการดูแลปัญหาอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงหรือภาวะโลกร้อน การก่อการร้ายด้วยอาวุธนิวเคลียร์ และให้การดูแลทหารผ่านศึกสงครามอิรัก และสงครามอัฟกานิสถาน
1.18.2552
สุภาษิต สำนวน คำพังเพย
- สุภาษิต ความหมายตามพจนานุกรม หมายถึง คำกล่าวที่มีคติควรฟัง สุภาษิตจึงมีลักษณะเดียวกับสำนวนและคำพังเพย แต่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการสั่งสอน เตือนสติให้คิด ไม่มีการเสียดสีหรือติชมอย่างคำพังเพย เป็นถ้อยคำที่แสดงหลักความจริง เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่ว ๆ ไป ภาษิตนี้ยังมีความหมายรวมไปถึง สัจธรรม คำสั่งสอนที่เป็นความจริงอันเที่ยงแท้ทางศาสนาด้วย เช่น ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร ฯลฯ แต่เรานิยมเรียกสัจธรรมเหล่านี้ว่า "สุภาษิต"
- สำนวน ความหมายตามพจนานุกรม หมายถึง โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบเรียง ถ้อยคำที่ไม่ถูกไวยากรณ์แต่รับใช้เป็นภาษาที่ถูกต้อง การแสดงถ้อยคำออกมาเป็นข้อความพิเศษเฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ
- คำพังเพย ความหมายตามพจนานุกรม หมายความว่า "คำที่กล่าวขึ้นลอย ๆ เป็นคำกลางเพื่อตีให้เข้ากับเนื้อเรื่อง"
สุภาษิต สำนวน คำพังเพย ความหมาย
- กรุงศรีอยุธยาไม่สิ้นคนดี เมื่อคราวบ้านเมืองอับจน ย่อมมีคนดีมาช่วยกู้สถานการณ์บ้านเมืองได้
- คนดีผีคุ้ม คนดีเมื่อถึงคราวตกอับ มักมีคนมาช่วยเหลือไว้เสมอ
- คนตายขายคนเป็น ผู้ที่ตายไปแล้วญาติจัดงานศพยิ่งใหญ่ ทำให้เป็นการสิ้นเปลืองแก่ผู้อยู่
- คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่อ คนที่รักเรากับคนที่เกลียดชังเรามีอยู่มากพอกัน
- ชีปล่อยปลาแห้ง ทำเป็นคนใจบุญ แต่จริง ๆ แล้วไม่ใช่
- เด็กเลี้ยงแกะ คนที่ชอบพูดปดอยู่เสมอ จนไม่มีใครเชื่อถือ
- เดินตามรอยผู้ใหญ่หมาไม่กัด ให้ทำตามผู้ใหญ่แล้วจะได้ดีเอง
- ตักบาตรอย่าถามพระ จะให้ของแก่ใคร ไม่ต้องถามก่อน ควรให้ไปเลย
- ตาบอดได้แว่น ได้ในสิ่งที่ตนไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
- เตี้ยอุ้มค่อม ต่างคนต่างอยู่ในฐานะลำบากแล้วยังต้องเอาอีกคนหนึ่งมาเป็นภาระ